(The marketing)
แนวคิดการตลาดพื้นฐาน
“ กระบวนการแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการ
จากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อตอบสนองความต้องการ ของแต่ละฝ่ายในตัวสินค้าและบริการนั้นๆ
โดยใช้เงินหรือสิ่งมีค่าแทนเงินเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยน”
เงินหรือสิ่งมีค่าใช้แลกเปลี่ยน
สินค้าและบริการ
ส่วนประสม
การตลาด (4 P’s)
กิจกรรมการตลาด
การสื่อสาร
ผู้บริโภค /
ผู้ซื้อ
ผู้ผลิต /
ผู้ขาย
กระบวนการแลกเปลี่ยนสินค้า
มุมมองการตลาด
มุมมองลูกค้า
1. ผลิตภัณฑ์ใช้แก้ปัญหาได้
(Customer solution)
2. ซื้อในราคาย่อมเยา
(Customer cost)
3. สะดวกในการหาซื้อ
(Convenience)
4. บอกรายละเอียดชัดเจน
(Communication)
Four C’s
มุมมองผู้ขาย
1. ผลิตภัณฑ์ตอบสนองความต้องการ
(Product)
2. การตั้งราคาที่เหมาะสม
(Price)
3. ระบบจัดจำหน่ายกระจายอย่างทั่วถึง
(Place)
4. โฆษณา ประชาสัมพันธ์ได้ดึงดูดใจ
(Promotion)
Four P’s
คุณค่าที่ลูกค้าได้รับ
(Customer delivered
value)
ต้นทุนรวมของลูกค้า
(Total customer cost)
คุณค่ารวมของลูกค้า
(Total customer value)
คุณค่าที่ลูกค้าได้รับ (Customer Delivered Value)
ภาพลักษณ์ (Imange value)
บุคลากร (Personal value)
การบริการ (Services value)
สินค้า (Product cost)
เงิน (Monetary cost)
เวลา (Time cost)
แรง พลังงาน (Energy cost)
จิตใจ (Psychic cost)
คุณค่าที่ลูกค้าได้รับ (Customer Delivered Value)
คุณค่าที่ลูกค้าได้รับ (Customer Delivery Value)
ถือเป็นปลายทางของความรู้สึกรวมสุดท้ายที่มีต่อสินค้าและ
บริการของบริษัท การที่ลูกค้าจะรู้สึกว่าสินค้าและบริการที่ได้รับจาก
บริษัทนั้น ลูกค้ามักจะเปรียบเทียบระหว่างคุณค่ารวมของสิ่งที่เขา
ได้รับกับต้นทุนรวมที่เขาจะต้องเสียไปในส่วนของคุณค่ารวมที่ลูกค้า
ได้รับ (Total customer value) นั้น ประกอบด้วยลักษณะของคุณค่า
ดังต่อไปนี้
คุณค่าที่ลูกค้าได้รับ (Customer Delivered Value)
คุณค่าจากภาพลักษณ์ (Image value) หมายถึง คุณค่าที่ลูกค้าได้รับจากตรา
สินค้าหรือภาพลักษณ์ขององค์กร เช่น รถเบนซ์ย่อมมีคุณค่าของภาพลักษณ์ที่ดีกว่ารถฮุนได
คุณค่าของบุคลากร (Personal value) พนักงานบริษัทที่มีความรู้ ความเข้าใจ
ในตัวสินค้าและบริการย่อมนำเสนอสินค้าได้ดีกว่าพนักงานที่ไม่ได้รับการอบรม
คุณค่าของบริการ (Services value) ร้านค้าที่ให้บริการที่เหนือกว่าคู่แข่งย่อมทำ
ให้ลูกค้าประทับใจและเห็นคุณค่ามากกว่าร้านที่มีบริการไม่ดี
สินค้า (Product value) ตัวสินค้าที่มีคุณภาพ ประณีต ใช้วัสดุที่ดีย่อมได้รับ
การมองว่ามีคุณค่ามากกว่าสินค้าที่ทำขึ้นเทียมหรือเลียนแบบ หรือคุณภาพต่ำกว่า
ต้นทุนรวมที่ลูกค้าเสียไป (Total Customer Costs)
หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ลูกค้าเสียไปทั้งในแง่ของความรู้สึกและ
ตัวเงิน หากต้นทุนรวมที่ลูกค้าได้รับน้อยกว่าต้นทุนรวมที่ลูกค้าเสียไปก็
จะทำให้ลูกค้าอาจจะรู้สึกไม่คุ้มและไม่พึงพอใจ
ต้นทุนรวมที่ลูกค้าเสียไป (Total Customer Costs)
ต้นทุนรวมที่ลูกค้าเสียไป (Total Customer Costs)
ต้นทุนรวมของลูกค้ามีองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ คือ
ต้นทุนด้านการเงิน (Monetary cost) หมายถึง มูลค่าเป็นตัวเงินที่
ลูกค้าต้องเสียเพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าและบริการ
ต้นทุนด้านเวลา (Time cost) หมายถึง เวลาที่ลูกค้าต้องเสียไปเพื่อ
เลือกซื้อหรือเข้าไปใช้บริการนั้นๆ
ต้นทุนด้านแรงงาน พลังงาน (Energy cost) เป็นต้นทุนที่ลูกค้าต้อง
ใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าและบริการนั้น เช่น สินค้าที่ลูกค้าอยากได้อยู่ต่างตึก
ทำให้ลูกค้าต้องเดินไปรับของ
ต้นทุนด้านจิตใจ (Psychic cost) เป็นต้นทุนที่ลูกค้าต้องเสียไป
เพื่อให้ได้สินค้าและบริการ
กำหนดแผนยุทธศาสตร์
(Strategic Plan Formulation)
ยุทธศาสตร์การขยายตัว
1. การขยายธุรกิจเดิม (Intensive Growth)
เจาะตลาดเดิม (Market Penetration)
พัฒนาตลาด (Market Development)
พัฒนาสินค้า (Product Development)
ยุทธศาสตร์การขยายตัว
2. การขยายธุรกิจในหลายมิติ (Integrative Growth)
ขยายธุรกิจเชิงรุกคืบหน้า (Forward Integration)
ขยายธุรกิจเชิงถอยกลับ (Backward Integration)
ขยายธุรกิจในแนวระนาบ(Horizontal Integration)
3. การแตกธุรกิจ (Diversification)
การขยายธุรกิจเดิม (Intensive Growth)
1. กลยุทธ์การเจาะตลาดเดิม (Market Penetration)
คือ การที่องค์กรเน้นการทำการตลาดเชิงรุกกับกลุ่มเป้าหมายที่เคยใช้สินค้าอยู่
ให้เกิดการใช้มากขึ้น หรือกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงก็ให้หันมาลองใช้สินค้าขององค์กร
2. กลยุทธ์การพัฒนาตลาด (Market Development)
เป็นกลยุทธ์ที่ควรเลือกใช้เมื่อบริษัทพยายามจะขยายตลาดให้กว้างออกไป โดยการ
พัฒนา ช่องทางการจัดจำหน่ายเพื่อที่จะทำให้สินค้าที่มีอยู่สามารถไปถึงมือผู้บริโภคได้
3. กลยุทธ์การพัฒนาสินค้า (Product Development)
กลยุทธ์การพัฒนาสินค้าเกิดจากการที่ลูกค้าเริ่มลดความนิยมในตัวสินค้าลง ดังนั้น
บริษัทจึงต้องทำการพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาความนิยมนั้น
การขยายธุรกิจในหลายมิติ (Integration)
1. การขยายธุรกิจเชิงคืบหน้า (Integration)
เกิดเมื่อบริษัทเห็นลู่ทางในการขยายธุรกิจที่มีอยู่คืบหน้าไปยังส่วนธุรกิจต่อเนื่อง
เช่น บริษัท CP เป็นผู้ผลิตอาหารสัตว์ เมื่อเห็นโอกาสเติบโตจึงขยายไปสู่ธุรกิจ
จัดจำหน่ายโดยตั้งบริษัท CP Intertrade ขึ้นมาเป็นผู้จัดจำหน่ายแทนผู้จัดจำหน่ายอื่น
CP ตัวแทน ค้าปลีก ลูกค้า
CP Intertrade ค้าปลีก ลูกค้า
การขยายธุรกิจในหลายมิติ (Integration)
2. การขยายธุรกิจเชิงถอยกลับ (Backward Integration)
บริษัทค้าส่งหรือค้าปลีกที่สามารถขายสินค้าได้ในจำนวนมากนั้น พยายามที่จะ
ลดต้นทุนของธุรกิจให้ต่ำ โดยการคิดจัดตั้งโรงงานเป็นของตัวเอง เพราะนอกจากจะ
สามารถลดต้นทุนลงได้ต่ำแล้วยังสามารถควบคุมคุณภาพของสินค้าและบริการได้
ดีกว่าการรับสินค้ามาขาย เช่น บริษัท MK สุกี้เคยเป็นเพียงร้านขายอาหารแต่เมื่อ
ธุรกิจเติบใหญ่ขึ้นจึงหันไปสร้างโรงโรงงานผลิตอาหารเพื่อป้อนให้กับร้าน MK สุกี้
โรงงาน MK ลูกค้า
MK Fac. MK Res. ลูกค้า
การขยายธุรกิจในหลายมิติ (Integration)
3. การขยายธุรกิจในระนาบเดียวกัน (Horizontal Integration)
บางครั้งการที่ธุรกิจพยายามตอบรับกับการแข่งขันนั้น จำเป็นต้องอาศัยความ
รวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างร้านค้าเครือข่าย ซึ่งในบางครั้งบริษัทไม่อาจรอได้
ที่จะตั้งสาขาทีละสาขาได้ เพื่อก้าวรุกเชิงกลยุทธ์ บางเจ้าของธุรกิจก็ตัดสินใจขยาย
เครือข่ายร้านค้าโดยการเข้าซื้อกิจการของร้านค้าที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน
ในทันที ซึ่งจะทำให้สามารถมีร้านเครือข่ายเพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องรอสร้าง
Showbiz VDO Raku Raku VDO Boy VDO
Raku Raku VDO Raku Raku VDO Raku Raku VDO
Network
พฤติกรรมผู้บริโภค
(Consumer Behavior)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค
รู้ความต้องการ/รู้ปัญหา
พฤติกรรมหลังการตัดสินใจ
ค้นหาข้อมูล
ประเมินทางเลือก
ตัดสินใจ
วัฒนธรรม, สังคม
บุคคล,จิตวิทยา
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค
ปัจจัยด้านวัฒนธรรม (Culture Factors)
1. วัฒนธรรม (Culture)
ทำอะไรตามใจคือไทยแท้, ไม่ปฏิเสธ, ยิ้ม
2. วัฒนธรรมกลุ่มย่อย (Subculture)
เชื้อชาติ, ศาสนา, สีผิว, พื้นที่ภูมิศาสตร์
3. ชนชั้นของสังคม (Social Class)
อาชีพ, ฐานะ, รายได้
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค
ปัจจัยทางด้านสังคม (Social Factors)
1. กลุ่มอ้างอิง (Reference Group)
กลุ่มที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติ ความคิดเห็น
1.1 กลุ่มปฐมภูมิ - เพื่อนสนิท เพื่อนบ้าน
1.2 กลุ่มทุติยภูมิ - ผู้นำในสังคม เพื่อนร่วมอาชีพ สถาบัน
2. ครอบครัว (Family)
3. บทบาทและสถานะ (Role and Status)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค
ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
1. อายุ (Age)
2. วงจรของชีวิต (Life Cycle)
3. อาชีพ (Occupation)
4. โอกาสทางเศรษฐกิจ (Economic Circumstance)
5. การศึกษา (Education)
6. รูปแบบการดำรงชีวิต (Life Style)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค
ปัจจัยด้านจิตวิทยา (Psychological Factors)
1. การจูงใจ (Motivation)
2. การรับรู้ (Perception)
2.1 การเลือกที่จะรับข้อมูล
2.2 การเลือกที่จะแปลข้อมูลตามที่ตัวเองต้องการ
2.3 การเลือกที่จะเก็บข้อมูลที่ได้รับรู้
3. การเรียนรู้ (Learning)
4. ความเชื่อและทัศนคติ (Belief and Attitude)
ร้อยละของจำนวนผู้ลองใช้
ช่วงเวลาในการปรับตัวในการใช้สินค้า
Early
Late
ชอบลองของใหม่
ตามแห่
2.5%
13.5%
34%
34%
16%
มีก็ดีเหมือนกัน
อยากมีบ้าง
ต้องเป็นคนแรก
ผู้บริโภคกับพฤติกรรมการใช้สินค้า
4. พฤติกรรมการซื้อที่จุกจิก
3. พฤติกรรมการซื้อด้วยความเคยชิน
2. พฤติกรรมการที่ไม่ต้องหาข้อมูลมากก่อนการซื้อ
1. พฤติกรรมที่ต้องหาข้อมูลให้มากก่อนการซื้อ
ผู้บริโภคกับพฤติกรรมการใช้สินค้า
การสร้างกลยุทธ์การตลาด
(Development Marketing Strategics)
การสร้างกลยุทธ์การตลาด
ความต้องการของลูกค้า
(Customer needs & wants)
การแบ่งตลาดกลุ่มย่อย
(Marketing Segmentation)
เลือกตลาดกลุ่มย่อย
(Target Marketing)
วางตำแหน่งผลิตภัณฑ์
(Positioning)
วิเคราะห์และ
ประเมินสถานการณ์
ส่วนประสมการตลาด
(Marketing Mix)
การสร้างกลยุทธ์การตลาด
การแบ่งตลาดกลุ่มย่อย (Segmentation)
เลือกตลาดกลุ่มย่อย (Target Marketing)
วิเคราะห์และประเมินลูกค้าในตลาดกลุ่มย่อยเป้าหมาย
(Customer Analysis)
การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (Positioning)
การแบ่งตลาดกลุ่มย่อย
(Consumer Behavior)
การแบ่งส่วนกลุ่มย่อย
การแบ่งกลุ่มลูกค้าที่อยู่ในตลาดออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ซึ่งแต่ละ
กลุ่มย่อยนั้นจะมีลักษณะเฉพาะบางประการที่มีคล้ายคลึงกัน ซึ่งแตกต่าง
จากกลุ่มย่อยกลุ่มอื่น
ลักษณะประชากรศาสตร์
อัตราการใช้
ทัศนคติ
จิตวิทยา
หมายถึง การแบ่งกลุ่มลูกค้าที่อยู่ในตลาดออกเป็นกลุ่มย่อยๆ
ซึ่งแต่ละกลุ่มย่อยนั้นจะมีลักษณะเฉพาะบางประการที่มีความคล้ายคลึงกัน
ซึ่งแตกต่างจากกลุ่มย่อยกลุ่มอื่น การแบ่งตลาดกลุ่มย่อยนั้น ช่วยให้เรา
สามารถเข้าใจถึงสภาพของตลาดและความต้องการสินค้าของลูกค้าได้ดีขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของทัศนคติ การเลือกใช้สินค้า พฤติกรรมการซื้อ
แรงจูงใจ ปัจจัยเหล่านี้นักการตลาดจะนำไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อใช้
วางแผนการตลาดให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ความหมายของตลาดกลุ่มย่อย (Segmentation)
ขั้นตอนในการแบ่งตลาดกลุ่มย่อย
หลังจากศึกษาภาพตลาดรวมแล้ว ต้องแบ่งตลาดออกเป็น
กลุ่มย่อย (Segmentation)
เลือกกลุ่มตลาดย่อย(กลุ่มเดียวหรือหลายกลุ่ม) ที่สนใจใน
การนำสินค้าเข้าไปทำตลาด (Target Marketing)
ทำการศึกษากลุ่มลูกค้าหรือผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าของบริษัท
(Customer & Potential Customer)
กำหนดตำแหน่งสินค้าให้อยู่มโนคติของผู้บริโภคให้ได้ชัดเจน
(Positioning)
ทำอย่างไรถึงจะแบ่งกลุ่มตลาดย่อยได้ดี
เมื่อแบ่งกลุ่มตลาดย่อยแล้วต้องสามารถวัดขนาดหรือรู้มูลค่าตลาดของสินค้ากลุ่มนั้นๆ ได้ (Measurable)
หากจะทำตลาดสินค้าในกลุ่มย่อย กลุ่มย่อยนั้นต้องมีขนาดใหญ่พอที่จะสร้างผลกำไรได้ (Substantial)
กลุ่มตลาดย่อยที่สนใจนั้น ต้องสามารถเข้าไปถึงได้และสามารถที่จะทำตลาดได้ (Accessible)
เมื่อสินค้าใดถูกให้อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งแล้ว ในการแบ่งกลุ่มย่อยแต่ละครั้งไม่ควรที่จะมีสินค้านั้นเข้าไปอยู่ในกลุ่มอื่นอีก
ลักษณะการแบ่งกลุ่มตลาดย่อย
ลักษณะผู้บริโภค (Consumer Characteristics)
ลักษณะภูมิศาสตร์
ลักษณะประชากรศาสตร์
จิตวิทยา
การตอบสนองของผู้บริโภค (Consumer Responses)
โอกาสการซื้อ
อัตราการใช้
ทัศนคติ
ประโยชน์ของสินค้า
เลือกตลาดกลุ่มย่อย
(Target Marketing
กลยุทธ์ในการขายสินค้าในตลาดย่อยเป้าหมาย
เลือกขายสินค้าฯ ในทุกตลาดกลุ่มย่อยโดยถือว่าทั้งตลาดไม่มีความแตกต่างกัน (Undifferentiated Strategy)
เลือกขายสินค้าฯ เฉพาะในตลาดกลุ่มย่อยที่สนใจแต่เพียงตลาดเดียว (Concentrated Strategy)
เลือกขายสินค้าฯ ในกลุ่มตลาดกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม (Multisegment Strategy)
วิเคราะห์และประเมินลูกค้า
ในตลาดกลุ่มย่อยเป้าหมาย
(Customer Analysis)
ลูกค้าในตลาดกลุ่มย่อยเป้าหมาย
ลูกค้าเป้าหมาย (Potential Customer)
เมื่อเลือกตลาดกลุ่มย่อยเป้าหมาย (Market Segment) ได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการวิเคราะห์ผู้ที่จะเป็นลูกค้าที่อยู่ในกลุ่มตลาดเป้าหมายย่อยเหล่านั้น เพื่อที่จะได้เรียนรู้พฤติกรรมการซื้อและการบริโภครวมถึงแรงจูงใจที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อสินค้าของเรา
ประเภทของลูกค้าในตลาดกลุ่มย่อย
กรณีที่ 1 : สินค้าในหมวดนั้นมีวางจำหน่ายในตลาดอยู่แล้ว
ลูกค้าที่ใช้สินค้าของบริษัท
ลูกค้าที่ใช้สินค้าของบริษัทคู่แข่ง
กลุ่มคนที่สามารถพัฒนาเป็นลูกค้าของบริษัทได้
กรณีที่ 2 : สินค้าเป็นหมวดสินค้าใหม่ที่ไม่มีวางจำหน่ายอยู่ในตลาด
ลูกค้าที่ใช้สินค้าของบริษัทคู่แข่ง
กลุ่มคนที่สามารถพัฒนาเป็นลูกค้าของบริษัทได
การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์
(Positioning)
การกำหนดตำแหน่งในใจ (Positioning)
การวางตำแหน่งสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ คือ การสร้างภาพของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ขึ้นในใจของกลุ่มเป้าหมาย ภาพของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในใจของกลุ่มเป้าหมายนั้น เป็นภาพหรือความรู้สึกเฉพาะคน และภาพนั้นจะเปรียบเสมือนเป็นตัวที่อธิบายความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้นในใจที่มีต่อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่เรานำออกเสนอให้ผู้บริโภค
การวางตำแหน่งการรับรู้ในใจคน
“ การวางตำแหน่งการรับรู้ในใจคนนั้น ไม่ได้วางจากตัวสินค้าเป็นหลัก
การวางตำแหน่งการรับรู้นั้น ต้องเริ่มต้นจากการสร้างการรับรู้ในใจของกลุ่มเป้าหมายเป็นสำคัญ และนั่นก็คือการที่เราสามารถวางภาพของสินค้าให้อยู่ในใจของคนได้ ”
Al Ries – Jack Trout
The Battle for Your Mind, 20
ส่วนประสมการตลาด
(Marketing Mix)
โครงสร้างตลาด
การแบ่งส่วนกลุ่มย่อย
กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
การแบ่งส่วนกลุ่มย่อย
การแบ่งส่วนกลุ่มย่อย
ผลิตภัณฑ์
ราคา
การจัดจำหน่าย
การส่งเสริมการตลาด
การ
โฆษณา
การ
ส่งเสริม
การขาย
การขาย
โดย
บุคคล
การ
ประชา
สัมพันธ์
ความต้องการ
ของลูกค้า
ความต้องการ
ของลูกค้า
ส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix)
ส่วนประสมการตลาด
(Marketing Mix)
ช่องทางการจำหน่าย
(Place)
ราคา
(Price)
ผลิตภัณฑ์
(Product)
การส่งเสริมการตลาด
(Promotion)
โฆษณา
(Advertising)
ประชาสัมพันธ์
(Public Relations
Publicty)
ขายโดยบุคคล
(Personal Seling)
การส่งเสริมการขาย
(Sales Promotion)
ส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix)
ส่วนประสมการตลาด
สินค้า
ความหมายหลาย
คุณภาพ
การออกแบบ
ตราสินค้า
บรรจุภัณฑ์
บริการ
รับประกัน
ราคา
ส่วนลด
ส่วนให้เพิ่ม
การชำระเงิน
เงื่อนไข
เครดิต
ช่องทางการ
จัดจำหน่าย
ช่องทาง
พื้นที่ครอบคลุม
ชนิดของสินค้า
คลังสินค้า
ระบบขนส่ง
การส่งเสริม
การตลาด
การโฆษณา
การประชาสัมพันธ์
การขายโดยบุคคล
การส่งเสริมการขาย
การตลาดตรง
กลุ่มเป้าหมาย
ผลิตภัณฑ์ (Product)
กลยุทธ์ของสายผลิตภัณฑ์ (Product line)
กลยุทธ์ด้านตราสินค้า (Branding)
กลยุทธ์ด้านบริการ (Services)
กลยุทธ์ด้านบรรจุภัณฑ์และฉลาก (Packaging & Labeling)
กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development)
กลยุทธ์ด้านการรับประกัน (Warrantee)
กลยุทธ์ของสายผลิตภัณฑ์ และตราสินค้า
กลยุทธ์ของสายผลิตภัณฑ์ (Product line stretching)
คือ การสร้างความหากหลายของผลิตภัณฑ์ทั้งในทางกว้างและทางลึก
กลยุทธ์ตราสินค้า (Branding)
หมายถึง สัญลักษณ์ รูปแบบหรือทุกอย่างรวมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างความแตกต่างระหว่างสินค้าของตนกับคู่แข่ง
การสร้างตราสินค้านั้น ต้องเป็นสิ่งที่จดจำง่าย ไม่ซับซ้อนจนเกินไป และมีความโดดเด่น
กลยุทธ์ด้านการบริการ
กลยุทธ์ด้านการบริการ (Services)
ความน่าเชื่อถือ (Releability)
การตอบสนองต่อความต้องการบริการ (Responsiveness)
ความเชื่อมั่น (Assurance)
การเอื้อเฟื้อช่วยเหลือให้บริการ (Empathy)
ภาพลักษณ์รวมการให้บริการ (Tangibles)
กลยุทธ์ด้านบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ (Packaging)
หมายถึง กิจกรรมในการออกแบบและผลิตภาชนะบรรจุหรือห่อหุ้มสินค้า
หน้าที่หลักของบรรจุภัณฑ์ (Basic Functions of Packaging)
ปกป้องสินค้า (Protection)
เพิ่มความสะดวก (Convenience)
ใช้เพื่อสื่อสาร (Communication)
กลยุทธ์ด้านบรรจุภัณฑ์
นโยบายการบรรจุภัณฑ์ (Packaging policy)
เปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ (Changing the package)
นำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse packaging)
บรรจุภัณฑ์รวม (Multiple packaging)
บรรจุภัณฑ์สำหรับสายผลิตภัณฑ์ (Packaging the product line)
เพื่อสิ่งแวดล้อม (Socioenvironmental design)
ราคา (Price)
เพื่อเจาะตลาด (Market Penetration Pricing)
เพื่อทำให้เกิดการลองใช้ (Price to Product Trial)
เพื่อแยกกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน (Segmentation Pricing)
เพื่อให้ได้กำไรสูงสุด (Maximum Profit Pricing)
เพื่อสร้างภาพ (Image Pricing)
เพื่อให้อยู่รอด (Survival Pricing)
ราคาและเกณฑ์การกำหนดราคา
การกำหนดราคา
กำหนดราคาสูงกว่าราคาตลาด (Above market price)
กำหนดที่ราคาตลาด (Market Price)
กำหนดราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาด (Below Market Price)
เกณฑ์การกำหนดราคาขาย
ตั้งจากต้นทุน (Cost Oriented)
ตั้งจากความต้องการของตลาด (Demand oriented)
ตั้งจากคู่แข่งขัน (Competition oriented)
กลยุทธ์การกำหนดราคา
กำหนดราคาแบบบวกเพิ่ม (Market Pricing)
กำหนดจากคุณค่าที่ลูกค้าประเมิน (Perceived – value pricing)
กำหนดจากคู่แข่งในตลาด (Go – rating pricing)
กำหนดเพื่อส่งเสริมการขาย (Promotional Pricing)
กำหนดเพื่อให้ลูกค้าซื้อสินค้าหลัก (Bait and Switch Pricing)
กำหนดแบบยอมขาดทุน (Loss – leader pricing)
กำหนดแบบถูกทุกวัน (Everyday Low price, EDLP)
ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place-Distribution Channel)
เป้าหมายของการจัดจำหน่าย
กระจายสินค้าให้ทั่วถึงทุกจุดขาย (Market Coverage)
มีต้นทุนที่ตำกว่าคู่แข่งขัน (Lower cost than competitors)
สินค้าอยู่ในสภาพดี ไม่เสียหาย (Good condition, No damage)
เกิดกำไรของธุรกิจสูงสุด (Maximum Profit)
มีความรวดเร็วกว่าคู่แข่งในการส่งมอบ (Fast Delivery)
สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive advantage)
ช่องทางการจัดจำหน่าย
โรงงาน
โรงงาน
โรงงาน
โรงงาน
โรงงาน
ค้าส่ง
ผู้บริโภค
ค้าปลีก
ค้าส่งอิสระ
ค้าส่ง
ค้าส่ง
ค้าปลีก
ค้าปลีก
ค้าปลีก
ผู้บริโภค
ผู้บริโภค
ผู้บริโภค
ผู้บริโภค
เอเย่นต์
การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
เครื่องมือในการส่งเสริมการตลาด
การโฆษณา (Advertising)
การขายโดยพนักงานขาย (Personal Selling)
การประชาสัมพันธ์ (Public Relations & Publicity)
การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion)
การโฆษณา (Advertising)
การโฆษณา (Advertising)
แจ้งข่าวสาร (Informing)
เพื่อจูงใจ (Persuading)
เพื่อเตือนความจำ (Reminder)
เปลี่ยนการรับรู้ (Changing perception)
สื่อที่ใช้ (Medium of Communications)
โทรทัศน์, หนังสือพิมพ์, นิตยสาร, ป้ายโฆษณา, จดหมายสื่อ On-line, วิทยุ
การใช้พนักงานขาย (Personal Selling)
การขายโดยพนักงานขาย (Personal Selling)
กระตุ้นการซื้อ (Stimulating sales)
รับข่าวสารข้อมูล (Receiving information)
ตรวจสอบตลาด (Market inspection)
สร้างความสัมพันธ์ (Creating relationship)
เทคนิค (Selling Techniques)
การเสนอขาย, การแสวงหาลูกค้า, การโน้มน้าวและจูงใจลูกค้า
การปิดการขาย, การติดตามลูกค้า
การประชาสัมพันธ์ (Public Relations & Publicity)
การประชาสัมพันธ์ / จัดกิจกรรม (PR /PB)
สร้างความสัมพันธ์กับมวลชนและสื่อ (Public relations)
สร้างภาพลักษณ์ (Creating image)
โฆษณาประชาสัมพันธ์สถาบัน (Corporate advertising)
แก้ไขวิกฤต (Crisis to solution)
เทคนิค (PR Techniques)
การแถลงข่าว, การพบปะสื่อมวลชน, การแจ้งข่าว, การจัดกิจกรรม, Sponsorship, การจัดสัมมนา
การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion)
การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion)
ทดลองซื้อ (Trial purchase)
ตัดสินใจซื้อ ณ จุดขาย (Immediate purchase)
อยากซื้อซ้ำ (Repeat purchase)
สกัดคู่แข่ง (Block competitor)
เทคนิค (Sales Promotion Techniques)
สินค้าตัวอย่าง, ของแถม, คูปองส่วนลด, แสตมป์, การชิงโชค, การแข่งขัน, ส่วนลด, การให้ส่วนเพิ่ม, การรับประกัน
การซื้อของผู้บริโภค
-
พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค หมายถึง
พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคขึ้นสุดท้ายที่ซื้อสินค้าและบริการไปเพื่อกินเองใช้เอง
หรือเพื่อกินหรือใช้ภายในครัวเรือน
ผู้บ...
4 ปีที่ผ่านมา
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น